เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต เปิดตัวโครงการ Community Care Partnership ร่วมกับสมาคมสเปเชียล โอลิมปิค แห่งประเทศไทย เพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตแล ะสร้างโอกาสให้แก่ผู้พิการในประ เทศไทย โดยเอฟดับบลิวดี กรุ๊ป และสเปเชียล โอลิมปิค เอเชียแปซิฟิค ได้ลงนามเป็นพันธมิตรช่วยเหลือ เด็กพิการทางสติปัญญาใน 7 ประเทศทั่วเอเชีย ได้แก่ ไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม เอฟดับบลิวดีสนับสนุนเงินทุนสำห รับโครงการ Unified Schools และโครงการผู้นำนักกีฬา (Athlete Leadership Program) เพื่อมุ่งหวังส่งเสริมให้ผู้พิก ารทางสติปัญญาสามารถอยู่ร่วมกัน ในสังคมและมีโอกาสเท่าเทียมกับผู้ อื่น นางสาวปรมาศิริ มโนลม้าย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า Community Care เป็นหนึ่งในโครงการของเอฟดับบลิ วดีที่ต้องการสร้างความเปลี่ยนแ ปลงเชิงบวกให้กับชุมชนที่อยู่รอ บ ๆ โดยตั้งแต่ปี 2556 เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต ได้จ้างงานผู้พิการมากกว่า 20 คนมาเป็นพนักงานในส่วนงานต่างๆ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง จนส่งผลให้บริษัทได้รับรางวัล The Asian Welcome-Disability Award (Well-D) จาก Workability Thailand & Thai Government ประจำปี 2559 แต่เราก็ได้รับรู้ว่าผู้พิการยั งขาดโอกาสทางสังคมอีกมาก จนไม่สามารถพัฒนาทักษะความสามาร ถได้เต็มศักยภาพและไม่ สามารถออกไปสนุกกับการใช้ชีวิ ตได้อย่างเต็มที่ สำหรับประเทศไทย เอฟดับบลิวดี ประกันชีวิต จะทำงานร่วมกับสมาคมสเปเชียลโอลิ มปิคแห่งประเทศไทย โดยนำพนักงานของบริษัทเข้าร่วมกิ จกรรมสนับสนุนการแข่งขันกีฬาของ เด็กผู้พิการทางสติปัญญา โดยการเป็นผู้ช่วยในกิจกรรม เช่น การรับลงทะเบียนนักกีฬา การเป็นกรรมการ เป็นต้น รวมทั้งการให้น้องๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่ างๆที่บริษัทจัดขึ้นทั้งภายในแล ะภายนอกบริษัท การร่วมมือกันระหว่างเอฟดับบลิว ดีกับสเปเชียลโอลิมปิคในการดำเนิ นโครงการครั้งนี้ จะช่วยให้เราสามารถช่วยเหลือผู้ พิการทางสติปัญญาที่ปัจจุบันมีม ากกว่า 1 พันล้านคนทั่วโลกหรือเกือบ 2 ล้านคนในประเทศไทยซึ่งเป็นกลุ่ม ผู้พิการที่มีจำนวนมากที่สุดของ ผู้พิการทุกประเภทในไทย โครงการ Community Care เป็นส่วนหนึ่งของความมุ่งมั่นขอ งเอฟดับบลิวดีที่ต้องการเข้าไปมี ส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยื นของสหประชาชาติที่มีเป้าหมายลด ความไม่เสมอภาคในสังคม “เราหวังให้ผู้คนตระหนักและมีคว ามเข้าใจอย่างลึกซึ้งในความต้อง การของผู้พิการ และร่วมกันสร้างอนาคตที่แตกต่าง ให้แก่ผู้พิการทางสติปัญญาในชุ มชน” นางสาวปรมาศิริ กล่าวในตอนท้าย นางรัชนีวรรณ บูลกุล ผู้อำนวยการสมาคมสเปเชียลโอลิมปิ คแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ผู้พิการทางสติปัญญาเป็นกลุ่มผู้พิการที่มีจำนวนมากที่สุดของผู้ พิการทุกประเภท ในประเทศไทยมีผู้พิการกลุ่มนี้เ กือบ 2 ล้านคน โดยเป็นเยาวชนราว 6 แสนคน ซึ่งผู้พิการเหล่านี้จะมีปัญหาด้ านการสื่อสาร การเข้าถึงบริการต่างๆ และเป็นประชากรไทยที่ด้อยโอกาสม ากที่สุดในประเทศไทย จากการวิจัยพบว่า หากได้รับการบำบัดดูแลและมีการเ รียนรู้แต่เนิ่นๆ ผู้พิการเหล่านี้จะสามารถพัฒนาต นเอง ไม่เป็นภาระกับครอบครัว และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมี คุณค่า สเปเชียลโอลิมปิคจึงรู้สึกยินดี มากที่เอฟดับบลิวดีให้การสนับสนุ นโครงการของเรา โดยเราจะมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะ ความสามารถ และคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสติ ปัญญาโดยใช้กีฬาเป็นสื่อ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ สุขภาพอนามัย สร้างโอกาส สร้างการยอมรับในสังคมไทยให้แก่ ผู้พิการทางสติปัญญาให้สามารถเข้ าไปมีส่วนร่วมในสังคม โครงการ Unified School ตั้งเป้าหมายจะมีคนหนุ่มสาว 12,000 คนเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่ อช่วยฟื้นฟูและแก้ไขปัญหามุ มมองเชิงลบของผู้พิการทางสติปั ญญา และเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาและที่ไม่ ใช่กีฬา จำนวน 240 กิจกรรมที่จะจัดขึ้นในโรงเรียนแ ละชุมชน 90 แห่งเพื่อสร้างการยอมรับและการอ ยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเท่าเที ยม สำหรับโครงการผู้นำนักกีฬา (Athlete Leadership Program) จะเปิดโอกาสให้นักกีฬาที่มีความ บกพร่องทางสติปัญญา 300 คน ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะต่างๆน อกเหนือจากการเล่นกีฬา เช่น การสื่อสาร การพูดในที่สาธารณะ การใช้โซเชียลมีเดีย การทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยโค้ชและ คณะกรรมการในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เขาเหล่านั้นสามารถทำงา นและมีส่วนร่วมในสังคมมากยิ่งขึ้ น นอกจากนี้ สเปเชียลโอลิมปิคยังฝึกอบรมครู ให้กับนักกีฬาผู้นำเพิ่มอีก 200 คน และจะร่วมมือกับบริษัทจัดหางานเ พื่อส่งเสริมให้นักกีฬาที่พิ การทางสติปัญญามีงานทำ สามารถหารายได้เลี้ยงตนเองและคร อบครัว และเรียนรู้ทักษะความเป็นผู้นำ |
Bank & Insurance >